ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

โครงสร้างสำนักปลัดเทศบาล


ข้อแนะนำในการจัดโครงสร้างส่วนราชการของเทศบาล
สำนักปลัดเทศบาล
เทศบาลขนาดใหญ่

ผู้อำนวยการสำนักระดับ ๙

๑.ส่วนอำนวยการ
- ฝ่ายการเจ้าหน้าที่
                - งานการสอบ
                - งานบรรจุแต่งตั้ง
                - งานอัตรากำลัง
                - งานสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูล
                - งานพัฒนาบุคลากร
- ฝ่ายควบคุมเทศพาณิชย์
                - งานส่งเสริมกิจการเทศพาณิชย์
                - งานนิติการและเทศพาณิชย์
- ฝ่ายส่งเสริมการท่องเที่ยว
                - งานพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
                - งานสนับสนุนกิจการท่องเที่ยว
๒.ส่วนปกครอง
- ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
                - งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๑
                - งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๒
- ฝ่ายรักษาความสงบ
                - งานจัดระเบียบตลาดสด
                - งานจัดระเบียบร้านค้าแผงลอย
- ฝ่ายทะเบียนราษฎรและบัตรฯ
                - งานทะเบียนราษฎร
                - งานบัตรประจำตัวประชาชน
                - งานจ้อมูลทะเบียนราษฎร
๓.ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
                - งานธุรการ งานสารบรรณ    งานเลขานุการผู้บริหาร   งานรัฐพิธี งานประชาสัมพันธ์  งานรักษาความสะอาดและความปลอดภัยสถานที่ราชการ   งานประสานงานและเผยแพร่งานอื่น
- เทศบาลอาจประกาศกำหนดฝ่ายที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณงาน

ผู้อำนวยการกองระดับ ๘

๑.ฝ่ายอำนวยการ (๗)
                - งานการเจ้าหน้าที่
                - งานควบคุมเทศพาณิชย์
                - งานส่งเสริมการท่องเที่ยว
๒.ฝ่ายปกครอง (๗)
                - งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
                - งานรักษาความสงบ
                - งานทะเบียนราษฎรและบัตรฯ
๓.ฝ่ายบริหารงานทั่วไป (๖)
                -งานธุรการ งานสรบรรณ งานเลขานุการผู้บริหาร งานรัฐพิธี ฯลฯ
 - เทศบาลอาจประกาศกำหนดฝ่ายที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณงาน

เทศบาลขนาดกลาง

ผู้อำนวยการกองระดับ ๘

๑.ฝ่ายอำนวยการ (๗)
                - งานการเจ้าหน้าที่
                - งานส่งเสริมการท่องเที่ยว
๒.ฝ่ายปกครอง (๗)
                - งานทะเบียนราษฎร
- งานบัตรประจำตัวประชาชน
๓.ฝ่ายป้องกันละรักษาความสงบ (๖)
                - งานรักษาความสงบ
- งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
๔.ฝ่ายธุรการ (๖)
                -งานธุรการ งานสรบรรณ งานเลขานุการผู้บริหาร งานรัฐพิธี ฯลฯ
 - เทศบาลอาจประกาศกำหนดฝ่ายที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณงาน

ผู้อำนวยการกองระดับ ๗

๑.ฝ่ายอำนวยการ (๖)
                - งานบริหารทั่วไป
๒.ฝ่ายปกครอง (๖)
                - งานทะเบียนราษฎร
                - งานบัตรประจำตัวประชาชน
๓.ฝ่ายป้องกันและรักษาความสงบ (๖)
                - งานรักษาความสงบ
- งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
๔.ฝ่ายธุรการ (๖)
                -งานธุรการ งานสรบรรณ งานเลขานุการผู้บริหาร งานรัฐพิธี ฯลฯ
 - เทศบาลอาจประกาศกำหนดฝ่ายที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณงาน

เทศบาลขนาดเล็ก

หัวหน้ากองระดับ ๖

-           งานธุรการ
-           งานการเจ้าหน้าที่
-           งานทะเบียนราษฎรและบัตร
-           งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
-            เทศบาลอาจประกาศกำหนดฝ่ายที่เรียกชื่ออย่างอื่นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณงาน



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การเทียบหลักสูตรนักบริหารงานมืออาชีพเป็นหลักสูตรนักบริหารงานระดับสูง

ข้อหารือ 1.อบจ.สงขลา หารือว่ากรณีผู้สำเร็จการศึกษาอบรมหลักสูตรนักบริหารงานมืออาชีพ (ระดับ 9) จะถือเป็นหลักสูตรนักบริหารงานระดับสูงที่ ก.จ.รับรอง หรือไม่ 2.นาย ส.รองปลัดเทศบาลนครสงขลา (นักบริหารงานเทศบาลระดับ 9) มีหนังสือขอให้พิจารณาเพิ่มเติมหลักเกณฑ์คุณสมบัติของ ปลัด อบจ.ระดับ 9 โดยให้รองปลัดเทศบาลระดับ 9 ที่ดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี และผ่านการศึกษาอบรมหลักสูตรนักบริหารงานมืออาชีพของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เป็นผู้มีคุณสมบัติในการคัดเลือกเพื่อดำรงตำแหน่งปลัด อบจ.ระดับ 9 คำวินิจฉัย 1.รับรองหลักสูตรนักบริหารงานมืออาชีพ (ระดับ 9) เป็นหลักสูตรที่เป็นคุณสมบัติในการคัดเลือกเพื่อดำรงตำแหน่งปลัด อบจ.ระดับ 9 ได้ 2. กรณีนาย ส.นั้นไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากการคัดเลือก เพื่อเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้นในตำแหน่ง ปลัด อบจ.ระดับ 9 ไม่ได้กำหนดให้ข้าราชการประเภทอื่น มาสมัครคัดเลือกเพื่อเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับท่สูงขึ้นได้ ทั้งนี้การรับโอนพนักงานเทศบาลมาดำรงตำแหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ระดับ 9 ผุ้นั้นต้องดำรงตำแหน่งปลัดเทศบาล ระดับ 9 ซึ่งเป็...

คำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนเป็นคำสั่งทางปกครอง

คำสั่งศาลปกครองระยอง คดีหมายเลขแดงที่ 40/2546 สรุปข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี และผู้อำนวยการโรงพยาบาลขลุง ออกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนให้แก่ผู้ฟ้องคดี ประจำปีงบประมาณ ๒๕๔๔ เพียง ๐.๕ ขั้น ทำให้ผู้ฟ้องคดีไม่ได้รับความเป็นธรรมเนื่องจากเป็นการใช้อำนาจกลั่นแกล้ง ประเมินผลการปฏิบัติงานต่ำกว่าความเป็นจริง ผู้ฟ้องคดีจึงได้ร้องทุกข์ต่อ อ.ก.พ. จังหวัดจันทบุรี แต่ อ.ก.พ. จังหวัดจันทบุรี กลับยกคำร้องทุกข์ของผู้ฟ้องคดี ผู้ฟ้องคดีจึงนำคดีมาฟ้องต่อศาลปกครอง คำวินิจฉัย ศาลปกครองระยองพิจารณาแล้วเห็นว่า คำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนดังกล่าวเป็นคำสั่งทางปกครองตามนัยมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙และเนื่องจากพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ มิได้กำหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองในเรื่องนี้ไว้โดยเฉพาะจึงต้องดำเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงในคดีฟังได้ว่าผู้อำนวยการโรงพยาบาลขลุงมีเหตุโกรธเคือง และขัดแย้งกับผู้ฟ้องคดีมาก่อน จึงเห็นได้ว่าผู้อำนวยการโรงพยาบาลขลุงในฐานะผู...

ครูผู้ดูแลเด็กเล็ก

ประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกกรณีพิเศษไม่ต้องสอบแข่งขันสำหรับหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและครูผู้ดูแลเด็กเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นพนักงานครูเทศบาล คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ 8/2553 เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2553 เห็นชอบให้กำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกกรณีที่มรเหตุพิเศษโดยไม่จำเป็นต้องสอบแข่งขันสำหรับหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและครูผู้ดูแลเด็กเล็กเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นพนักงานครูเทศบาล โดยมีสาระสำคัญดังนี้ - ตำแหน่งที่จะสามารถคัดเลือกเพื่อบรรจุเป็นกรณีพิเศษได้ ได้แก่พนักงานครูเทศบาลในตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ครูผู้ดูแลเด็กเล็ก และหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - คุณสมบัติผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกกรณีมีเหตุพิเศษ 1. ดำรงตำแหน่งครูผู้ดูแลเด็ก และ/หรือ หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งจัดจ้างโดยงบประมาณเงินอุดหนุนจากรัฐและจากเงินรายได้ของท้องถิ่นติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี และ 2. เป็นผู้มีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่องมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามเบื้องต้นสำหรับ...