ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

โครงสร้างกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม


ข้อแนะนำในการจัดโครงสร้างส่วนราชการของเทศบาล
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

เทศบาลขนาดใหญ่

ผู้อำนวยการสำนักระดับ ๙

๑.ส่วนส่งเสริมสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (๘)
- กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
                - งานส่งเสริมสุขภาพ
                - งานสาธารณสุขชุมชน
                - งานวิชาการและแผนงาน
- กลุ่มงานป้องกันและควบคุมโรค
                - งานป้องกันโรคติดต่อ
                - งานควบคุมโรคติดต่อ
                - งานป้องกันและบำบัดยาเสพติด
- กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม
                - งานสุขาภิบาล
                - งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
                - งานพัฒนาระบบการจัดเก็บขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
                - งานควบคุมมลพิษและเหตุรำคาญ
๒.ส่วนบริการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (๘)
- กลุ่มงานบริการการแพทย์
                - งานทันตสาธารณสุข
                - งานเภสัชกรรม
                -งานชันสูตรและรังสีวิทยา
- กลุ่มงานบริการสิ่งแวดล้อม
                - งานสัตวแพทย์
                - งานบริการรักษาความสะอาด
                - งานควบคุมสิ่งปฏิกูล
- กลุ่มงานบริการสาธารณสุข
                - ศูนย์บริการสาธารณสุข ๑,๒,๓
- ฝ่ายบริหารทั่วไป
                - งานธุรการ
                - งานการเงินและบัญชี

ผู้อำนวยการกองระดับ ๘

- ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข (๗)
                -  งานสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
                - งานวางแผนสาธารณสุข
                - งานศูนย์บริการสาธารณสุข
                - งานรักษาความสะอาด
- ฝ่ายบริการสาธารณสุข (๗)
                - งานเผยแพร่และฝึกอบรม 
                - งานส่งเสริมสุขภาพ
                - งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
                - งานสัตวแพทย์
- งานธุรการ งานการเงินและบัญชี
-   เทศบาลอาจประกาศกำหนดฝ่ายที่เรียกชื่อย่างอื่นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณงาน

เทศบาลขนาดกลาง

ผู้อำนวยการกองระดับ ๘

- ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข (๗)
                -  งานสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
                - งานวางแผนสาธารณสุข
                - งานศูนย์บริการสาธารณสุข
                - งานรักษาความสะอาด
- ฝ่ายบริการสาธารณสุข (๗)
                - งานเผยแพร่และฝึกอบรม 
                - งานส่งเสริมสุขภาพ
                - งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
                - งานสัตวแพทย์
- ฝ่ายบริหารทั่วไป
                - งานธุรการ
                - งานการเงินและบัญชี
-   เทศบาลอาจประกาศกำหนดฝ่ายที่เรียกชื่อย่างอื่นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณงาน

ผู้อำนวยการกองระดับ ๗

- ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข (๖)
                -  งานสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
                - งานวางแผนสาธารณสุข
                - งานศูนย์บริการสาธารณสุข
                - งานรักษาความสะอาด
- ฝ่ายบริการสาธารณสุข (๖)
                - งานเผยแพร่และฝึกอบรม 
                - งานส่งเสริมสุขภาพ
                - งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
                - งานสัตวแพทย์
- ฝ่ายบริหารทั่วไป
                - งานธุรการ
                - งานการเงินและบัญชี
-   เทศบาลอาจประกาศกำหนดฝ่ายที่เรียกชื่อย่างอื่นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณงาน

เทศบาลขนาดเล็ก

- งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม
- งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
- งานสัตวแพทย์
-   เทศบาลอาจประกาศกำหนดงานที่เรียกชื่อย่างอื่นได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณงาน

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

หลักเกณฑ์การให้ทุนการศึกษา

หลักเกณฑ์การให้ทุนการศึกษาและการตั้งงบประมาณเพื่อให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาตรีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๑.บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จะรับทุนการศึกษาทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาตรีจะต้อง - ได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการคัดเลือกให้เป็นผู้รับทุนการศึกษา ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตั้งงบประมาณเพื่อให้ทุนการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ให้พิจารณาในสัดส่วนของผู้บริหารท้องถิ่นหรือสมาชิกสภาท้องถิ่น และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นฝ่ายละเท่าๆกัน และสามารถเฉลี่ยสัดส่วนกันได้ -สามารถเฉลี่ยจำนวนทุนการศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ก็สามารถทำได้ แต่ค่าใช้จ่ายในปีงบประมาณต้องไม่เกินจำนวนที่สามารถตั้งงบประมาณได้ ทั้งนี้อยู่ในดุลยพินิจของผู้บริหาร ๒.บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีสิทธิรับทุนการศึกษา สามารถเข้าศึกษาในสาขาวิชาที่กำหนดเป็นคุณวุฒิตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งในทุกตำแหน่งที่คณะกรรมการกลางขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ. เทศบาล และ อบต.)กำหนด ๓.สาขาที่เข้าศึกษาควรเป็นหลักสูตรพิเศษที่ใช้เวลาการศึกษานอกเวลาราชการ ๔.ระหว่างการศึกษาโดยได้รับทุนก

คำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนเป็นคำสั่งทางปกครอง

คำสั่งศาลปกครองระยอง คดีหมายเลขแดงที่ 40/2546 สรุปข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี และผู้อำนวยการโรงพยาบาลขลุง ออกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนให้แก่ผู้ฟ้องคดี ประจำปีงบประมาณ ๒๕๔๔ เพียง ๐.๕ ขั้น ทำให้ผู้ฟ้องคดีไม่ได้รับความเป็นธรรมเนื่องจากเป็นการใช้อำนาจกลั่นแกล้ง ประเมินผลการปฏิบัติงานต่ำกว่าความเป็นจริง ผู้ฟ้องคดีจึงได้ร้องทุกข์ต่อ อ.ก.พ. จังหวัดจันทบุรี แต่ อ.ก.พ. จังหวัดจันทบุรี กลับยกคำร้องทุกข์ของผู้ฟ้องคดี ผู้ฟ้องคดีจึงนำคดีมาฟ้องต่อศาลปกครอง คำวินิจฉัย ศาลปกครองระยองพิจารณาแล้วเห็นว่า คำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนดังกล่าวเป็นคำสั่งทางปกครองตามนัยมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙และเนื่องจากพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ มิได้กำหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองในเรื่องนี้ไว้โดยเฉพาะจึงต้องดำเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงในคดีฟังได้ว่าผู้อำนวยการโรงพยาบาลขลุงมีเหตุโกรธเคือง และขัดแย้งกับผู้ฟ้องคดีมาก่อน จึงเห็นได้ว่าผู้อำนวยการโรงพยาบาลขลุงในฐานะผู

ครูผู้ดูแลเด็กเล็ก

ประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกกรณีพิเศษไม่ต้องสอบแข่งขันสำหรับหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและครูผู้ดูแลเด็กเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นพนักงานครูเทศบาล คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล ได้มีมติในการประชุมครั้งที่ 8/2553 เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2553 เห็นชอบให้กำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกกรณีที่มรเหตุพิเศษโดยไม่จำเป็นต้องสอบแข่งขันสำหรับหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและครูผู้ดูแลเด็กเล็กเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นพนักงานครูเทศบาล โดยมีสาระสำคัญดังนี้ - ตำแหน่งที่จะสามารถคัดเลือกเพื่อบรรจุเป็นกรณีพิเศษได้ ได้แก่พนักงานครูเทศบาลในตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ครูผู้ดูแลเด็กเล็ก และหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - คุณสมบัติผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกกรณีมีเหตุพิเศษ 1. ดำรงตำแหน่งครูผู้ดูแลเด็ก และ/หรือ หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งจัดจ้างโดยงบประมาณเงินอุดหนุนจากรัฐและจากเงินรายได้ของท้องถิ่นติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี และ 2. เป็นผู้มีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่องมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามเบื้องต้นสำหรับ